อาจารย์ให้ทำMindmappingสรุปองค์ความรู้
ในการเรียนวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
E-portFolio Subject to the Experiences Management For Early chidhood
วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556
Recording the classroom 16
อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรม "Cookimg" หลังจากที่ได้เขียนแผนและนำเสนอแผนเกี่ยวกับการทำอาหารเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556
ขั้นตอนการทำอาหาร "ไข่ตุ๋น"
-คุณครูให้เด็กๆนั่งเป็นครึ่งวงกลม
-คุณครูอธิบายขั้นตอนการทำ "ไข่ตุ๋น"
-คุณครูใช้คำถาม ถามเด็กทุกครั้งในการทำอาหาร คำถามที่คุณครูใช้บ่อยคือ
"เด็กๆค่ะ เด็กเห็นอะไรตรงข้างหน้าครูบ้างคะ"
"เด็กๆคะ ถ้าครูใส่อันนี้ลงไป (ส่วนประกอบของ"ไข่ตุ๋น")เด็กๆคิดว่ามันจะเกิดอะไรขึ้นคะ"
"เด็กๆคะ เด็กๆเคยทานไข่ตุ๋นไหมคะ"
ขั้นตอนการทำอาหาร "ไข่ตุ๋น"
-คุณครูให้เด็กๆนั่งเป็นครึ่งวงกลม
-คุณครูอธิบายขั้นตอนการทำ "ไข่ตุ๋น"
-คุณครูใช้คำถาม ถามเด็กทุกครั้งในการทำอาหาร คำถามที่คุณครูใช้บ่อยคือ
"เด็กๆค่ะ เด็กเห็นอะไรตรงข้างหน้าครูบ้างคะ"
"เด็กๆคะ ถ้าครูใส่อันนี้ลงไป (ส่วนประกอบของ"ไข่ตุ๋น")เด็กๆคิดว่ามันจะเกิดอะไรขึ้นคะ"
"เด็กๆคะ เด็กๆเคยทานไข่ตุ๋นไหมคะ"
ส่วนประกอบ
- ไข่ไก่เบอร์ 0 หรือ 1 3 ฟอง
- น้ำเปล่า 1 ถ้วยตวง
- คนอร์อร่อยชัวร์ 10 กรัม
- แครอทหั่นเต๋าเล็ก 2 ช้อนโต๊ะ
- ต้นหอมซอย 1 ช้อนโต๊ะ
วิธีทำ
- นำลังถึงใส่น้ำตั้งบนเตาให้เดือด ถ้าต้องการให้ไข่ตุ๋นนุ่มเนียน เมื่อน้ำเดือดแล้วให้ลดไฟลงเป็นไฟอ่อน
- ตอกไข่ใส่อ่างผสม เทน้ำลงไปปรุงรสด้วยคนอร์อร่อยชัวร์ คนส่วนผสมพอให้เข้ากัน ไม่ควรตีไข่ให้ขึ้นฟูจนเป็นฟองเพราะนึ่งแล้วหน้าจะไม่สวยไม่เรียบ
- จากนั้นเทใส่ภาชนะทนไฟ นำไปนึ่งจนสุกสัก 15-20นาทีก็จะได้ไข่ตุ๋นเนื้อเนียนน่าทาน
- หมายเหตุ ถ้าต้องการให้เนื้อไข่ตุ๋นเนียนมากๆ ให้กรองด้วยผ้าขาวบางก่อนนำไปนึ่ง
วันพุธที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556
Recording the classroom 15
วันนี้อาจารย์ได้ให้แต่ละกลุ่มเขียนแผนโดยกำหนดเป็นเรื่อง
“อาหาร” ให้เขียนขั้นตอนการทำอาหารที่เลือก
เขียนความสำคัญของอาหาร ให้คิดว่าแต่กลุ่มจะทำอาหารอะไรมีวัสดุอะไรบ้าง ให้เขียนใส่กระดาษ
4 แผ่น ให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอ
จากนั้นอาจารย์ก็ให้เลือกว่าจะให้ทำอาหารอะไรในวันพุธ ทุกคนเลือกทำไข่ตุ๋น ในสัปดาห์หน้า
วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556
Recording the classroom 14
ไม่มีการเรียนการสอน
เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ ได้สั่งานไว้ในทำ คือบล๊อกและรูปเล่มโครงงานที่ไปศึกษาในโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง
วันพุธที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2556
Recording the classroom 13
*ไม่มีการเรียนการสอน*
เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ และได้สั่งานให้ทำ คือรวบรวมผลงานที่ไปศึกษาดูงานมาจากโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง
เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ และได้สั่งานให้ทำ คือรวบรวมผลงานที่ไปศึกษาดูงานมาจากโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง
วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556
Recording the classroom 12
ไม่มีการเรียนการสอน
เนื่องจากอาจารย์ได้พานักศึกษา ไปศึกษาดูงานที่
-โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชศรีมา
-โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
เนื่องจากอาจารย์ได้พานักศึกษา ไปศึกษาดูงานที่
-โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชศรีมา
-โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
คำขวัญของโรงเรียน
|
คำขวัญ สุขภาพดี
มีความรู้ คู่คุณธรรม
|
สัญลักษณ์ของโรงเรียน
|
วัตถุประสงค์
ในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิตฯ
|
||
๑.
เพื่อเป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติงานสำหรับนักศึกษา
๒. เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยและพัฒนาบุคลากรจากท้องถิ่น ๓. เพื่อเป็นสถานที่ศึกษา วิจัย และทดลองทฤษฎีทางการศึกษาอันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในท้องถิ่น ๔. เพื่อเป็นโรงเรียนต้นแบบในการจัดการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕. เพื่อให้การอบรมสำหรับกุลบุตร กุลธิดา ที่จะศึกษาเล่าเรียนตามสติปัญญา ความสามารถ และความถนัด ๖. เพื่อเป็นสวัสดิการแก่บุตรธิดาของข้าราชการ พนักงาน บุคลากรของมหาวิทยาลัยและ
|
วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556
Recording the classroom 11
- อาจารย์ได้เข้าไปดูบล็อกในเซสนี้ ว่านักศึกษาคนใดที่ยังทำงานไม่เรียบร้อย
- อาจารย์ได้พูดถึงการไปดูงานที่ โรงเรียนลำปลายมาศพัมนา และ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยนครราชสีมา ว่ามีแต่ละฝ่ายงานมีอะไรบ้างมีหน้าที่อะไรและใครที่ทำหน้าที่อะไร โดยแบ่งตามหน้าที่ ดังนี้
- อาจารย์ได้พูดถึงการไปดูงานที่ โรงเรียนลำปลายมาศพัมนา และ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยนครราชสีมา ว่ามีแต่ละฝ่ายงานมีอะไรบ้างมีหน้าที่อะไรและใครที่ทำหน้าที่อะไร โดยแบ่งตามหน้าที่ ดังนี้
1. การประสานงาน จำนวนคน 7
2. ประชาสัมพัธ์ จำนวนคน 5
3. ฝ่ายประเมินผล จำนวนคน 7
4. งบประมาณ จำนวนคน 4
4. งบประมาณ จำนวนคน 4
5. ลงทะเบียน จำนวนคน 6
6. สวัสดิการ จำนวนคน 7
7. พิธีการ กล่าวขอบคุณ จำนวน 6 คน
7.1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
7.2 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556
Recording the classroom 10
วันนี้อาจารย์ติดธุระที่หอประชุมอาจารย์เลยให้นักศึกษารออยู่ภายห้องเรียน เพื่อคุยเรื่องการไปศึกษาดูงานที่ โคราช - บุรีรัมย์ ในวันที่ 27-28 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2556
- ให้นักศึกษากลับไปศึกษาประวัติของ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยนครราชสีมา ไปดูว่าเขามีการจัดประสบการณ์ส่งเสริมเชิงวิทยาศาสตร์อย่างไรบ้างเพื่อให้เข้าใจก่อนวันไปดูงาน เพื่อต่อยอดความรู้ได้ง่ายขึ้น
- อาจารย์ให้พูดคุยกันในเรื่องของหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในการไปดูงานครั้งนี้เมื่อทุกคนที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ในการดำเนินงานแล้ว ให้ไปออกแบบฟอร์มของแต่ละหัวข้อที่แต่ละคนรับผิดชอบ
วันพุธที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556
Recording the classroom 9
ได้เข้าร่วมกิจกรรมของอาจารย์ณุตา พงษ์สุผล ชื่อโครงการว่า "โครงการกายงาม ใจดี ศรีปฐมวัย"
ซึ่งในงานมีกิจกรรมมากมาย เช่น มีการแสดงรำศรีวิชัย
และเซิ้งของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีการแสดงร้องเพลง ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1
มีการสอนเรื่องมารยาทไทยทั้งการไหว้ การนั่ง การยืน การส่งของ
มารยาทไทย คือ กิริยา วาจาต่างๆ เช่น การยืน การเดิน การนั่ง
การนอน การรับของส่งของ การทำความเคารพ การแสดงกิริยาอาการ
การรับประทานอาหาร การให้และรับบริการ การทักทาย การสนทนา การใช้คำพูด
การฟัง การใช้เครื่องมือสื่อสาร
รวมทั้งการประพฤติปฏิบัติในพิธีการต่างๆที่สุภาพเรียบร้อยที่บุคคลพึง
ปฏิบัติในสังคมโดยมีระเบียบแบบแผนอันเหมาะสมตามกาลเทศะ
และถือเป็นเอกลักษณ์สำคัญของคนไทย
การปฏิบัติในท่าไหว้ประกอบด้วยกิริยา ๒ ส่วน คือ
การประนมมือและการไหว้
การประนมมือ
(อัญชลี) เป็นการแสดงความเคารพ
โดยการประนมมือให้นิ้วมือทั้งสองข้างชิดกัน ฝ่ามือทั้งสองประกบเสมอกันแนบหว่างอก
ปลายนิ้วเฉียงขึ้นพอประมาณ แขนแนบตัวไม่กางศอก ทั้งชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน
การประนมมือนี้ใช้ในการสวดมนต์ ฟังพระสวดมนต์ ฟังพระธรรมเทศนา ขณะสนทนากับพระสงฆ์
รับพรจากผู้ใหญ่ แสดงความเคารพผู้เสมอกัน และรับความเคารพจากผู้อ่อนอาวุโสกว่า
เป็นต้น
การไหว้ (วันทนา) เป็นการแสดงความเคารพ
โดยการประนมมือแล้วยกมือทั้งสองขึ้นจรดใบหน้าให้เห็นว่าเป็นการแสดงความเคารพอย่างสูง
การไหว้แบบไทย แบ่งออกเป็น ๓ แบบ ตามระดับของบุคคล
ระดับที่ ๑
การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมทั้งปูชนียวัตถุ
ปูชนียสถาน ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
ในกรณีที่ไม่สามารถกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ได้
โดยประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลงให้หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว
ปลายนิ้วแนบส่วนบนของหน้าผาก
ระดับที่ ๒ การ
ไหว้ผู้มีพระคุณและผู้อาวุโส ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครู อาจารย์
และผู้ที่เราเคารพนับถือ
โดยประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลงให้หัวแม่มือจรดปลายจมูก
ปลายนิ้วแนบระหว่างคิ้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)